CU-Ewaste
โครงการถังขยะเเยกขยะอันตรายและขยะอิเล็คทรอนิกส์ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ขยะอันตรายทั้งหมด : {{allBin.น้ำหนักขยะอันตราย}} กิโลกรัม

ขยะอิเล็คทรอนิกส์ทั้งหมด : {{allBin.น้ำหนักขยะอิเล็กทรอนิกส์}} กิโลกรัม

ศาลาพระเกี้ยว

ขยะอันตราย (Hazard waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot1.CountAbove}}

ขยะอิเล็คทรอนิกส์(electronic waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot1.CountBelow}}

จามจุรี 5

ขยะอันตราย (Hazard waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot2.CountAbove}}

ขยะอิเล็คทรอนิกส์(electronic waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot2.CountBelow}}

สำนักวิทยทรัพยากร

ขยะอันตราย (Hazard waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot3.CountAbove}}

ขยะอิเล็คทรอนิกส์(electronic waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot3.CountBelow}}

อาคารเฉลิมราชสุดากีฬาสถาน

ขยะอันตราย (Hazard waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot4.CountAbove}}

ขยะอิเล็คทรอนิกส์(electronic waste)

0 15kg

จำนวนการทิ้งในรอบเดือน

{{robot4.CountBelow}}
CU-Ewaste
โครงการถังขยะเเยกขยะอันตรายและขยะอิเล็คทรอนิกส์ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถังรวบรวมขยะอิเล็กทรอนิกส์และแบตเตอรี่ E-waste and Battery Collector Bin เป็นถังรวบรวมขยะอันตรายประเภท แบตเตอรี่และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องใช้ไฟฟ้าเสื่อมสภาพ มีจอแสดงข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักรู้ความสำคัญ จำเป็นในการแยกขยะ ช่องด้านบนเป็นที่ทิ้งแบตเตอรี่ประเภทที่ไม่สามารถชารจ์ไฟได้อีก ส่วนด้านล่างเป็นที่ทิ้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ใช้แล้ว ทั้งสองส่วนมีไฟ LED เพื่อให้มองเห็นได้ง่าย ติดตั้งเซนเซอรอุปกรณ์ตรวจจับน้ำหนักและจำนวนครั้งของการทิ้งเพื่อส่งข้อมูล ไปยังระบบจัดการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อการบริหารจัดการขยะแบตเตอรี่ที่เป็นขยะอันตราย และขยะอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เครื่องใช้ไฟฟ้าเสื่อมสภาพที่ยังสามารถรีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ต่อได้ การบริหารจัดการขยะและการรณรงค์อาศัยระบบ ฐานข้อมูลพื้นฐานบนเวบไซต์ http ://cu-ewaste.com/ สื่อสารข้อมูลต่อสาธารณะผ่านคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์สมาร์ทโฟนเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการตระหนักถึงผลจากการคัดแยกขยะ แสดงตำแหน่งที่ตั้ง และสถานะของถังขยะ ช่องทางการให้ข้อมูลและการติดต่อกลับ รูปแบบหน้าจอออกแบบเพื่อปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานระบบและผู้ดูแลระบบแบบเรียลไทม์ กำหนดขนาดตัวอักษร ฟอนต์ไทป็ และการจัดวาง เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งานบนหน้าจอโดยใช้พื้นหลังสีส้มที่สื่อถึงประเภทของขยะอันตราย ตัวอักษรสี ขาว เป็นความร่วมมือระหว่าง สำนกับริหารระบบกายภาพ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม และภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยโครงการจัดทำถังต้นแบบ E-Waste Collector รณรงค์ประชาสัมพันธ์การจัดการขยะโดยเฉพาะแบตเตอรี่และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ นี้เป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุนแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะ ภายในพื้นที่มหาวิทยาลัย ด้วยแผนปฏิบัติการในโครงการChula Zero Waste การลดปริมาณขยะภายในมหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์ จัดวางในพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบคำขอสิทธิบัตรการออกแบบ เลขที่คำขอ 1702005191 โดยกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา ผลงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

NOW SAVING THE WORLD!!


LOCATION





Contact Me